วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559

อาชีพที่ฉันฝัน



คุณครู  สอนวิชาคณิตศาสตร์

นื่องจากข้าพเจ้าชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์      และข้าพเจ้าชอบเล่นคุณครูกับนักเรียนตั้งแต่เด็กๆ   และชอบเรียนวิชาคณิคศาสตร์  ข้าพเจ้าจึงบอยากโตไปเป็นคุณครู


โรคธาลัสซีเมีย


เป็นโรคที่มีความผิดปกติในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบในการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง จากการที่เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ โรคนี้เป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย พ่อและแม่จะเป็นผู้ถ่ายทอดยีนผิดปกตินี้ไปยังลูก พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ได้ทั่วโลก ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ประมาณร้อยละ 1 ของประชากร และพบผู้ที่มียีนแฝง (พาหะ) ประมาณร้อยละ 40 ของประชากร   อ่านเพิ่มเติม


โรคดักแด้


 เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างผิวหนัง หากมีคุณพ่อคุณแม่ หรือมีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้มาก่อน ก็สามารถ่ายทอดผ่านทางยีนเด่น (Autosomal dominant) มาสู่ลูกได้   อ่านเพิ่มเติม


โรคเบาหวาน

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออกกำลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่านผู้อ่านสามารถนำข้อเสนอแนะจากบทความนี้ไปปรึกษากับแพทย์ที่รักษาท่านอยู่ ท่านต้องร่วมมือกับคณะแพทย์ที่ทำการรักษาเพื่อกำหนดเป้าหมายการรักษา  อ่านเพิ่มเติม


โรคฮีโมโฟเลีย


ภาวะเลือดออกง่าย หรือเลือดออกแล้วหยุดยาก อาจมีสาเหตุจากความผิดปกติ
ของหลอดเลือด เกล็ดเลือด (platelets) หรือระบบการแข็งตัวของเลือด 
(coaglulation system)
ลักษณะของเลือดออกที่เกิดขึ้นตามผิวหนัง อาจเป็นจุดแดง ขนาด 1 มิลลิเมตร 
หรือเท่าปลายเข็มหมุด เรียกว่า เพติเคีย (petichiae) หรือเป็นจ้ำเขียว หรือ 
พรายย้ำ ขนาด 1-10 มิลลิเมตร หรือเท่าปลายนิ้ว เรียกว่า เอกไคโมซิส 
(ecchymosis) หรือเป็นก้อนนูน (hematoma)   อ่านเพิ่มเติม



โรคตาบอดสี

 ตาบอดสี หรือที่เรียกว่า colour blindness เป็นอาการที่ตาของผู้ป่วยแปรผลแปรภาพสีผิดไป จากผู้อื่นที่เป็นตาปกติ ตาเป็นอวัยวะจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตอย่างปกติสุขในสังคม หากเกิดความ ผิดปกติไม่ว่า จะเป็นเรื่องใดที่มีผลกระทบต่อการมองเห็น บุคคลนั้นๆ ย่อมได้รับผลกระทบไม่ทางใด ก็ทางหนึ่ง ภาวะตาบอดสีเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในสัง  อ่านเพิ่มเติม

โรคท้าวแสนปม

โรคท้าวแสนปม

เป็นโรคผิวหนังที่ถ่ายทอดโดยโครโมโซม ลักษณะที่พบคือ ร่างกายจะมีตุ่มเต็มไปทั่วร่างกาย ขนาดเล็กไปจนใหญ่แตกต่างกัน อ่านเพิ่มเติม

โรคซีสติกไฟโบรซีส

โรคซีสติกไฟโบรซีส

อาการจะเกิดขึ้นกับปอด และมีอาการอื่น ๆ เกิดกับตับอ่อน ตับ และลำไส้ ผู้ป่วยจะมีความผิดปกติในโปรตีนขนย้ายคลอไรด์และโซเดียมบนผิวเซลล์เยื่อบุ ทำให้มีสารคัดหลั่งข้นเหนียวกว่าปกติ อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2559

โรคจากสารเคมี

ผลกระทบด้านสุขภาพจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  1. ผลกระทบที่เป็นพิษเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะมีอาการในทันทีหลังจากสัมผัสสารเคมี เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ท้องร่วง หายใจติดขัด ตาพร่า เป็นต้น
  2. ผลกระทบที่เป็นพิษเรื้อรัง เกิดจากพิษสะสมที่ก่อให้เกิดโรคหรือปัญหาอื่นๆ เช่น มะเร็ง เบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคผิวหนังต่างๆ การเป็นหมัน การพิการของทารกแรกเกิด หรือการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เป็นต้น
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง : วิกฤตในระบบอาหารไทยการบริโภคผักและผลผลิตที่มีสารเคมีตกค้าง ดังรายงานการตรวจเลือดในเกษตรกรและผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่าเกษตรกรและแม่บ้านมีสารเคมีตกค้างในระดับไม่ปลอดภัยและเสี่ยงรวมร้อยละ ๗๕ ส่วนในกลุ่มผู้บริโภคที่รวมถึงนักเรียน บุคลากรในมหาวิทยาลัย  อ่านเพิ่มเติม


โรคหอบหืด


โรคหอบหืด เมื่อปลายปีที่ผ่านมาหลายท่านคงได้ยินข่าวการเสียชีวิตของดาราหนุ่ม ออฟ - อภิชาติ พัวพิมล ที่เสียชีวิตอย่างกะทันหันด้วยโรคหอบหืด ที่เป็นมาตั้งแต่เด็กๆ นอกจากนี้ดาราตลก ‘ดี๋ ดอกมะดัน’ ยังคงนอนพักรักษาตัวในห้องไอซียู เนื่องมาจากถูกโรคหอบหืดกำเริบเล่นงานเช่นเดียวกัน












โรคปอดฝุ่นฝ้าย

โรคบิสสิโนซิสในประเทศไทย
             โรคปอดอักเสบจากฝุ่นฝ้าย หรือบิสสิโนซิส มีรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 พบในคนงานทอผ้าเขตจังหวัดสมุทรปราการ ผู้ป่วยนอนราบไม่ได้ มีอาการเหนื่อย เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและคลีนิคไม่ต่ำกว่า 35 แห่ง ในระยะ 5 ปี จากการสอบสวนโรคพบว่าผู้ป่วยบิสสิโนซิสในโรงงานดังกล่าวกว่า 20 %
             และในปี 2532 มีรายงานผู้ป่วยบิสสิโนซิส ในโรงงานทอผ้าอีกแห่งหนึ่งของจังหวัด สมุทรปราการอีกเช่นกันในแผนกปั่น เท่ากับ 15.4 % ซึ่งพบโดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หอบเหนื่อยและไอบ่อย ๆ
             นอกจากนั้นยังมีรายงานการเกิดโรคบิสสิโนซิสในคนงานทอกระสอบและผู้ทำสัมผัสกับปออื่น ๆ ด้วย
สาเหตุของการเกิดโรคบิสสิโนซิส

            โรคบิสสิโนซิส เกิดจากการที่เราหายใจเอาฝุ่น ป่าน และปอ ซึ่งมีการปนเปื้อนด้วยเชื้อโรคต่าง ๆ ได้แก่ เชื้อรา และเชื้อแบคทีเรีย ฝุ่นดังกล่าวเป็นฝุ่นเส้นใยจากธรรมชาติ ซึ่งจะเข้าไปกระตุ้นให้ร่างกายมีการหลั่งสารอิสตามีน ทำให้หลอดหายใจแคบลงได้ จึงทำให้แน่นหน้า  อ่านเพิ่มเติม

โรคฝุ่นหิน

โรคซิลิโคสิส (Silicosis )
โรคปอดจากฝุ่นหิน  หรือซิลิโคสิส เป็นโรคปอดจากการทำงานที่มีสาเหตุจากการสูดหายใจเอาฝุ่นซิลิกอนไดออกไซด์หรือเรียกว่าผลึกซิลิก้าซึ่งส่วนมากจะพบในหินทรายเข้าไป
ลักษณะงานและอาชีพที่เสี่ยง
อาชีพที่เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคคือ ผู้ที่ทำงานในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ งานที่เกี่ยวข้องกับการตัดหิน สกัดหิน  โรงงานโม่บดย่อยหิน  อุตสาหกรรมทำแก้ว เซรามิก  ครก อุตสาหกรรมทำอิฐ กระเบื้องทนไฟ  วัตถุทนความร้อน เครื่องสุขภัณฑ์ เป็นต้น
อันตรายต่อระบบอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย
ผลึกที่เป็นสาเหตุของโรคซิลิโคสิสมี 3 ชนิดคือ ควอทซ์ (Quarts) คริสโตแบไลท์ ( Cristobalite ) และทริไดไมท์ (Tridimite) ขนาดของฝุ่นซิลิคอนไดออกไซด์ ก็เป็นปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคซิลิโคสิส  โดยเฉพาะฝุ่นที่ม็ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.05 – 5 µ ซึ่งสามารถเข้าไป  อยู่ในถุงลมปอดได้  โดยจะถูกเม็ดเลือดขาวในปอดจับกินและมีผลทำให้เกิดปฏิกริยาต่อเนื้อปอด  ซึ่งต่อมาจะก่อให้เกิด    อ่านเพิ่มเติม